วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

คู่มือเตรียมสอบ


#แจกแนวข้อสอบ#แนะนำการสอบ#ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกรมยุทธศึกษาทหารบก#คู่มือเตรียมสอบ#กรมยุทธศึกษาทหารบก#สายงานสัสดี#รวมแนวข้อสอบเก่าที่ออกบ่อยๆพร้อมเฉลย
+ผลงานความสำเร้จของลูกค้า+ http://www.topsheetonline.com/webboard/viewtopic/75














>>รวมแนวข้อสอบทั้งเก่าและใหม่ที่ออกบ่อยๆพร้อมเฉลยแบบอธิบายไว้ในเล่มเดียว 200-220 หน้า
>>เก็งและสรุปแนวข้อสอบมีเนื้อหาความรู้ทั่วไปและเฉพาะตำแหน่งที่สอบให้
>>อ่านเข้าใจง่าย ครบ แน่น ตรงประเด็น เหมาะสำหรับคนที่มีเวลาเตรียมตัวน้อย
>>รวบรวมและจัดทำขึ้นโดยคณะอาจารย์และรุ่นพี่ที่สอบได้จากสนามจริง

#สนใจสั่งซื้อมาที่>>> โทร 090-8134236 ,   Line :topsheet1
-แบบไฟล์ PDF (ส่งทางเมลล์)สามารถนำไปปริ้นอ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท
-แบบหนังสือ+MP3 ส่งEMS (ทางไปรษณีย์) เป็นหนังสือ ราคา 799 บาท
**โปรดระวังพวกซื้อไปขายต่อ ข้อมูลจะไม่อัพเดท**
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 619-2-17391-2 ธ.กสิกรไทย
สาขา บิ๊กซี พระรามที่ 2 ประเภท ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี กฤษฎาพร เหมวันต์     
โอนเงินแล้วแจ้งที่ 
Line ID : topsheet1
E-mail :topsheet1@gmail.com

##ติดตามแนวข้อสอบงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ทุกหน่วยงานเพิ่มที่ http://topsheet1.blogspot.com/

        



  

ขอบคุณที่ไว้ใจและอุดหนุนแนวข้อสอบของเราซึ่งจัดทำขึ้นจากรุ่นพี่ที่สอบได้จากสนามจริงมาเป็นระยะเวลากว่า 10 ปีค่ะ

ผลงานลูกค้า

เปิดสอบ ราชการ งานราชการ หางาน สอบราชการ พนักงานราชการ สอบบรรจุ หางาน รับสมัครงาน สอบ กพ. อบต. สอบภาค ก สอบภาค ข รับสมัครงาน ศูนย์รวมงานราชการ
ศูนย์หนังสือสอบ sheetbook เป็นที่รวบรวมแนวข้อสอบรับราชการ ทุกหน่วยงาน และนี่คือผลงาน ความคิดเห็นของลูกค้าที่ซื้อข้อสอบจากเราไป บางส่วน
















1
2
3
4
5
6
7
8







ติดตาม Facebook

ติดตาม Facebook

Youtube

แนวข้อสอบ กรมยุทธศึกษาทหารบก ยศ ทบ




รายละเอียดเนื้อหา
#แนวข้อสอบกรมยุทธศึกษาทหารบก ยศ ทบ ประกอบด้วย
- แนวข้อสอบภาษาอังกฤษ (เฉลยอธิบายละเอียด)
- แนวข้อสอบภาษาไทย (เฉลยอธิบายละเอียด)
- แนวข้อสอบความรู้ทั่วไป (ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ การทหาร)

#สนใจสั่งซื้อมาที่>>> โทร 090-8134236 ,   Line :topsheet1
-แบบไฟล์ PDF (ส่งทางเมลล์)สามารถนำไปปริ้นอ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท
-แบบหนังสือ+MP3 ส่งEMS (ทางไปรษณีย์) เป็นหนังสือ ราคา 799 บาท
**โปรดระวังพวกซื้อไปขายต่อ ข้อมูลจะไม่อัพเดท**
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 619-2-17391-2 ธ.กสิกรไทย
สาขา บิ๊กซี พระรามที่ 2 ประเภท ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี กฤษฎาพร เหมวันต์     
โอนเงินแล้วแจ้งที่ 
Line ID : topsheet1
E-mail :topsheet1@gmail.com

##ติดตามแนวข้อสอบงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ทุกหน่วยงานเพิ่มที่ http://topsheet1.blogspot.com/

        


แนวข้อสอบ



>>รวมแนวข้อสอบทั้งเก่าและใหม่ที่ออกบ่อยๆพร้อมเฉลยแบบอธิบายไว้ในเล่มเดียว 200-220 หน้า
>>เก็งและสรุปแนวข้อสอบมีเนื้อหาความรู้ทั่วไปและเฉพาะตำแหน่งที่สอบให้
>>อ่านเข้าใจง่าย ครบ แน่น ตรงประเด็น เหมาะสำหรับคนที่มีเวลาเตรียมตัวน้อย
>>รวบรวมและจัดทำขึ้นโดยคณะอาจารย์และรุ่นพี่ที่สอบได้จากสนามจริง


แนวข้อสอบ ยศ.ทบ สายงานสัสดี
1 ความรู้เรื่องการปฏิบัติหน้าที่สายงานสัสดี
2 แนวข้อสอบ ยศ.ทบ. (ศาสนาและศีลธรรม)
3 สรุปวิชาภาษาอังกฤษ
4 แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ
5 ความสามารถด้านภาษาไทย
6 กฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร
7 แนวข้อสอบพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ.2497
8 การปฏิบัติหน้าที่ในสายงานสัสดี
9 สรุปสาระสำคัญของประชาคมอาเซียน
10 ความสามารถด้านคอมพิวเตอร์
MP3 - คอมพิวเตอร์

แนวข้อสอบวิศวกรรมศาสตร์ ยศ.ทบ.
1 ความรู้เกี่ยวกับกรมยุทธศึกษาทหารบก
2 แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย
3 แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ
4 แนวข้อสอบวิชาความรู้ทั่วไป
5 แนวข้อสอบความรู้การเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ประชาคมอาเซียน
6 แนวข้อสอบกลศาสตร์
7 แนวข้อสอบคณิตศาสตร์
8 แนวข้อสอบการเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
9 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า

แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์ ประเภท ก ยศ.ทบ.
1. ความรู้เกี่ยวกับกรมยุทธศึกษาทหารบก
2. แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย
3. แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ
4. แนวข้อสอบวิชาความรู้ทั่วไป
5. แนวข้อสอบความรู้การเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ประชาคมอาเซียน
6. แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
7. แนวข้อสอบคณิตศาสตร์
8. แนวข้อสอบวิชาเคมี


แนวข้อสอบวิทยาศาสตร์  ประเภท ข ยศ.ทบ.
1. ความรู้เกี่ยวกับกรมยุทธศึกษาทหารบก
2. แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย
3. แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ
4. แนวข้อสอบวิชาความรู้ทั่วไป
5. แนวข้อสอบความรู้การเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ประชาคมอาเซียน
6. แนวข้อสอบชีววิทยา
7. แนวข้อสอบคณิตศาสตร์
8. แนวข้อสอบวิชาเคมี

9. แนวข้อสอบวิชาฟิสิกส์


แนวข้อสอบศิลปศาสตร์ ยศ.ทบ.
1. ความรู้เกี่ยวกับกรมยุทธศึกษาทหารบก
2. แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย
3. แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ
4. แนวข้อสอบวิชาความรู้ทั่วไป
5. วิชาความรู้ทั่วไป (ภูมิศาสตร์, ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และการทหารของไทย)
6. แนวข้อสอบความรู้การเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ประชาคมอาเซียน
7. แนวข้อสอบกฎหมายเบื้องต้น
8. แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์
9. แนวข้อสอบวิชาสังคมศึกษา
10. รัฐประศาสนศาสตร์เบื้องต้น

แนวข้อสอบนิติศาสตร์ ยศ.ทบ.
1. ความรู้เกี่ยวกับกรมยุทธศึกษาทหารบก
2. แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย
3. แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ
4. วิชาความรู้ทั่วไป (ภูมิศาสตร์, ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และการทหารของไทย)
5. แนวข้อสอบความรู้การเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ประชาคมอาเซียน
6. แนวข้อสอบกฎหมายเบื้องต้น
7. แนวข้อสอบกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
8. แนวข้อสอบกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
9. แนวข้อสอบกฎหมายอาญา
10. แนวข้อสอบวิธีพิจารณาความแพ่ง


แนวข้อสอบการเงินการบัญชี ยศ.ทบ.
1. ความรู้เกี่ยวกับกรมยุทธศึกษาทหารบก
2. แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย
3. แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ
4. แนวข้อสอบวิชาความรู้ทั่วไป
5. แนวข้อสอบความรู้การเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ประชาคมอาเซียน
6. ความรู้เกี่ยวกับการบริหารการเงิน
7. แนวข้อสอบการเงินและบัญชี
8. หลักการบัญชีเบื้องต้น
9. แนวข้อสอบงานงบประมาณการเงินและบัญชี


แนวข้อสอบศาสนศาสตร์ ยศ.ทบ.
1. ความรู้เกี่ยวกับกรมยุทธศึกษาทหารบก
2. แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย
3. แนวข้อสอบวิชาภาษาอังกฤษ
4. วิชาความรู้ทั่วไป (ภูมิศาสตร์, ประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และการทหารของไทย)
5. แนวข้อสอบความรู้การเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม ประชาคมอาเซียน
6. การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม
7. ความรู้ทางพระพุทธศาสนา
8. ถาม - ตอบ ความรู้เกี่ยวกับศาสนาต่างๆ
9. แนวข้อสอบ ยศ.ทบ. ศาสนาและศีลธรรม
10. แนวข้อสอบพื้นฐานทางพระพุทธศาสนา

#สนใจสั่งซื้อมาที่>>> โทร 090-8134236 ,   Line :topsheet1
-แบบไฟล์ PDF (ส่งทางเมลล์)สามารถนำไปปริ้นอ่านได้เลย ในราคาเพียงชุดละ 399 บาท
-แบบหนังสือ+MP3 ส่งEMS (ทางไปรษณีย์) เป็นหนังสือ ราคา 799 บาท
**โปรดระวังพวกซื้อไปขายต่อ ข้อมูลจะไม่อัพเดท**
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 619-2-17391-2 ธ.กสิกรไทย
สาขา บิ๊กซี พระรามที่ 2 ประเภท ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี กฤษฎาพร เหมวันต์     
โอนเงินแล้วแจ้งที่ 
Line ID : topsheet1
E-mail :topsheet1@gmail.com

##ติดตามแนวข้อสอบงานราชการ รัฐวิสาหกิจ ทุกหน่วยงานเพิ่มที่ http://topsheet1.blogspot.com/

        



  

ขอบคุณที่ไว้ใจและอุดหนุนแนวข้อสอบของเราซึ่งจัดทำขึ้นจากรุ่นพี่ที่สอบได้จากสนามจริงมาเป็นระยะเวลากว่า 10 ปีค่ะ

ตัวอย่างข้อสอบ




180.  พระภิกษุจำลองฯ   เข้ารับการตรวจเลือกฯ ที่อำเภอหนึ่ง  เมื่อปี 2551  ที่ผ่านมา  ผลการตรวจเลือก

          ปรากฏว่า  จับสลากถูกเข้ากองประจำการ ทบ.2  ถ้าท่านเป็นเจ้าหน้าที่ผู้ออกหมายนัด  ท่านจะต้อง

          บันทึกข้อความในบรรทัด  ให้มา  ณ  ที่ ............ตามข้อใดจึงจะถูกต้อง

                1.  “ที่ว่าการอำเภอ.....................”

                2.  “ศาลาประชาคมอำเภอ....................”

                3.  “ให้ลาสิกขา”  และ  ให้มา   ณ   ที่  “ศาลาประชาคมอำเภอ................”

                4.  “ให้ลาสิกขาภายในกำหนด  10  วัน”  และให้มา  ณ  ที่  “ที่ว่าการอำเภอ...............”

181.  การลงบัญชีตรวจเลือกคนเข้ากองประจำการ  ในช่อง “ขาด”  จะต้องลงจำนวนคนตามข้อใด

                1.  ลงจำนวนคนแต่ละอำเภอที่ได้จำหน่ายขาดไว้ตามที่ปรากฏในบัญชีเรียกฯ

                2.  ลงจำนวนคนที่อยู่ในบัญชีคนที่ขาดการตรวจเลือกฯ ของอำเภอในแต่ละวัน ตามที่ปรากฏใน

                     บัญชีเรียกฯ

                3.  ลงจำนวนคนที่ได้จำหน่ายขาดในบัญชีเรียกฯ รวมกับจำนวนคนในบัญชีคนที่ขาดการตรวจ

                     เลือกของอำเภอในแต่ละวัน

                4.  ลงจำนวนคนแต่ละอำเภอที่ได้จำหน่ายขาดตามที่ปรากฏในบัญชีคนที่อยู่ในกำหนดเรียก

                     ธรรมดา

182.  การลงบัญชีตรวจเลือกคนเข้ากองประจำการ  ในช่อง  “ไม่มารับหมายตามมาตรา 25”  จะต้องลง

          จำนวนตามข้อใด

                1. ลงจำนวนคนแต่ละอำเภอที่ไม่มาแสดงตนรับหมายเรียกตามมาตรา25 ที่ปรากฏอยู่ทุก

                    บัญชีเรียกฯ

                2.  ลงจำนวนคนแต่ละอำเภอที่ไม่มาแสดงตนรับหมายเรียกตามมาตรา 25

                3.  ลงจำนวนคนแต่ละอำเภอที่ไม่ปรากฏวันรับหมายเรียกฯ ในบัญชีเรียกฯ ทุกบัญชีของแต่ละ

                     อำเภอ

                4.  ลงจำนวนคนที่ไม่มาแสดงตนรับหมายเรียกฯ ตามที่ปรากฏในหลักฐานหมายเรียกฯ ของ

                     อำเภอ

183.  ผู้ใดมีหน้าที่ลงนามในใบรับหลักฐานทหารกองเกิน

                1.  ประธานกรรมการตรวจเลือก

                2.  กรรมการสัสดีจังหวัด

                3.  เจ้าหน้าที่รับคำร้อง

                4.  คณะกรรมการตรวจเลือกทุกนาย

184.  การรายงานผลการดำเนินการเกี่ยวกับการเรียกและการตรวจเลือกของฝ่ายปกครอง จะต้อง

          ดำเนินการในเดือนใด

                1.  เม.ย. ของทุกปี นับตั้งแต่การตรวจเลือกแล้วเสร็จ

                2.  พ.ค. – ส.ค. ของทุกปี  เพราะเป็นห้วงที่ ทบ. ตรวจการปฏิบัติหลังการตรวจเลือกฯ ประจำปี

                3.  ธ.ค.  ของทุกปี  เพื่อเตรียมการตรวจเลือกฯ ปีถัดไป

                4.  พ.ค. ของทุกปี

185.  ใครเป็นผู้รวบรวมข้อมูลการดำเนินการเกี่ยวกับการเรียก และ การตรวจเลือกเพื่อรายงานให้

          ผู้ว่าราชการจังหวัด ตามลำดับการรายงานผลการดำเนินการเกี่ยวกับการเรียกและการตรวจเลือก

           ฝ่ายปกครอง ข้อใดถูกต้อง

                1.  นายอำเภอ  -   ผู้ว่าราชการจังหวัด   -    มท.

                2.  นายอำเภอ  -   ผู้ว่าราชการจังหวัด   -    มท.   -   ทบ.

                3.  นายอำเภอ  -   ผู้ว่าราชการจังหวัด   -    มท.   -   ทบ.  -   กห.

                4.  นายอำเภอ  -   ผู้ว่าราชการจังหวัด   -    มท.   -   กห.

186.  ในการรายงานผลการสังเกตการณ์  ให้ผู้สั่งการสังเกตการณ์ทราบภายใน

                1.  7   วัน                              2.  10   วัน                           3.  15   วัน                             4.  20   วัน

187.  เมื่อผู้สั่งการสังเกตการณ์ได้รับรายงานผลการสังเกตการณ์แล้ว  ให้รวบรวมเสนอตามสายบังคับ

          บัญชาถึง ทบ.  ภายในเดือน......

                1.  พฤษภาคม                      2.  มิถุนายน                         3.  กรกฎาคม                       4.  สิงหาคม

188.  ในการสังเกตการณ์นี้ ให้ปฏิบัติตามคำสั่งตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป  หากมีข้อความใดขัดแย้งหรือไม่

           ตรงกับที่ระบุไว้ในคำสั่งนี้ให้ใช้ข้อความในคำสั่งฉบับนี้แทน  คำสั่งนี้สั่ง  ณ  วันที่

                1.  24   มกราคม   2517                                       2.  25   มกราคม  2517

                3.  25   ธันวาคม   2528                                    4.  25   ธันวาคม  2529

189.  ถ้าท่านถูกจัดให้ไปสังเกตการณ์    ในการเรียกชื่อเจ้าหน้าที่ปฏิบัติไม่ถูกต้องในข้อใด

                1.  น. 1 ใช้ใบรับรองผลฯ (แบบ สด.43) เรียกชื่อตามลำดับแผ่น

                2.  คนที่มาเข้ารับการตรวจเลือกแล้วได้ให้ตัวลงลายมือชื่อหรือพิมพ์ลายนิ้วมือในใบรับรองผลฯ

                     (แบบ สด.43) ท่อนที่ 2 และมอบใบรับรองผลฯ (แบบ สด.43) ให้เจ้าตัวถือไว้ เพื่อรอการ

                     ตรวจร่างกายต่อไป

                3.  คนที่อยู่ในกำหนดผ่อนผัน  น.1  ได้นำตัวไปรอที่โต๊ะประธานกรรมการ

                4.  คนที่ไม่มาเข้ารับการตรวจเลือก  น.1  บันทึกในใบรับรองผลฯ (แบบ สด.43) และลงลายมือ

                     ชื่อไว้

190.  ชุดสังเกตการณ์ไปสังเกตการณ์ในการปฏิบัติของคณะกรรมการตรวจเลือกในขั้นตอนการตรวจ

           ร่างกาย  ข้อใดคณะกรรมการปฏิบัติไม่เป็นไปตาม ผนวกที่กำหนด

                1.  กรรมการสัสดีจังหวัดเรียกชื่อเข้าตรวจร่างกาย ตามบัญชีเรียกฯ ถูกต้องหรือไม่

                2.  กรรมการซึ่งเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ แผนปัจจุบันชั้น 1  สาขาเวชกรรม ตรวจร่างกาย แล้ว

                     ปรากฏว่าเป็นคนจำพวก 2 , 3 , 4 ได้แจ้งให้ประธานกรรมการและกรรมการอื่น ทราบด้วย

                     หรือไม่

                3.  คนจำพวกที่ 3 , 4  กรรมการแพทย์ได้ออก สด. 4 , 5  มอบให้กรรมการสัสดีจังหวัดรับไป

                     ถูกต้องหรือไม่

                4. คนจำพวกที่ 2  คณะกรรมการตรวจเลือกกำหนดให้วัดขนาดด้วย หรือไม่  ถ้าเห็นว่าคน

                    จำพวกที่ 1 พอ  ไม่ต้องวัดขนาด  น.2  ได้นำตัวไปรอที่โต๊ะประธานกรรมการ เพื่อให้

                   ประธานกรรมการดำเนินการปล่อยตัว  ถูกต้องหรือไม่



ความรู้ทั่วไป

กองทัพบกไทย
กองทัพบกไทย (คำย่อ : ทบ. ชื่อภาษาอังกฤษ : Royal Thai Army คำย่อภาษาอังกฤษ : RTA) เป็นเหล่าทัพที่มีประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดของกองทัพไทย ก่อตั้งเป็นกองทัพสมัยใหม่ขี้นในปี พ.ศ. 2417 เหตุผลส่วนหนึ่งคือ เพื่อรับมือกับการคุกคามรุกแบบใหม่จากอังกฤษ ภายหลังการทำสนธิสัญญาเบาว์ริง และการเปิดประเทศใน พ.ศ. 2398
ประวัติ
การปฏิรูปการทหารบกของไทยเป็นแบบตะวันตก ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือต้นแบบของกิจการทหารบกสมัยปัจจุบัน
สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จเถลิงราชสมบัติ เมื่อ พ.ศ. 2394 กิจการแรกที่พระองค์ทรงกระทำ คือ ทรงตั้งเจ้าพระยาพระคลัง (ดิส บุนนาค) ว่าที่สมุหพระกลาโหมขึ้นเป็น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ ดำรงตำแหน่งสมุหพระกลาโหม และให้จัดการเรื่องกิจการทหารเป็นการด่วน โดยให้ปรับปรุงกองทัพบกให้เป็นแบบสมัยใหม่ และมีประสิทธิภาพที่สามารถป้องกันประเทศชาติได้ ทั้งนี้ เพราะประเทศมหาอำนาจทางตะวันตกได้แผ่อิทธิพลเข้ามา อยู่เหนือประเทศทางภูมิภาคเอเซียตะวันออกและตะวันออกเฉียงใต้ และมีท่าทีคุกคามต่อประเทศไทยยิ่งขึ้นตามลำดับ สำหรับการปรับปรุงในด้านวิทยาการนั้น พระองค์ทรงจ้าง ร้อยเอก อิมเปย์ และ ร้อยเอก น็อกส์ ชาวอังกฤษ ซึ่งเดินทางจากอินเดียผ่านเข้ามาทางพม่า ให้เป็นครูฝึกหัดทหารบก ทั้งทหารของวังหน้าและวังหลวง ดังนั้นใน พ.ศ. 2395 กองทหารที่ได้รับการฝึกและจัดแบบตะวันตก มีดังนี้
1.กองรักษาพระองค์อย่างยุโรป
2.กองทหารหน้า
3.กองปืนใหญ่อาสาญวน

กองทหารหน้าเป็นหน่วยที่ได้รับการฝึกแบบใหม่ มีอาวุธใหม่ และมีทหารประจำการมากกว่าทหารหน่วยอื่นๆ ทั้งยังมีความชำนาญในการรบมาพอสมควร เนื่องจากได้เข้าสมทบในกองทัพหลวงไปทำศึกที่เมืองเชียงตุง เมื่อปี พ.ศ. 2395 และ พ.ศ. 2396 การศึกทั้ง 2 ครั้งนี้ กองทหารหน้าได้สำแดงเกียรติภูมิในหน้าที่ของตนไว้อย่างน่าชมเชย จึงเป็นที่ไว้วางพระราชหฤทัยเป็นอย่างมาก ยามปกติกองทหารหน้ามีหน้าที่เข้าขบวนแห่นำตามเสด็จพระบาทสมเด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทุกคราว นอกจากนั้นยังมีหน้าที่ปราบปรามโจรผู้ร้ายตามหัวเมืองต่างๆ เช่น ปราบปรามพวกอั้งยี่ที่มณฑลปราจีน และเมืองชลบุรีอีกด้วย จึงนับได้ว่า "กองทหารหน้า" นี้เองเป็นรากเหง้าของกองทัพบกในปัจจุบันนี้
กิจการทหารบกได้รุดหน้าไปอีก เมื่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงมหิศวรินทรามเรศ ดำรงตำแหน่ง ผู้บัญชาการกองทหารหน้าใน พ.ศ. 2398 พระองค์ทรงรวบรวมกองทหารที่อยู่อย่างกระจัดกระจายทั่วกรุงเทพฯ มารวมไว้ที่เดียวกัน คือโรงทหารสนามไชย กองทหารดังกล่าวคือ
1.กองทหารฝึกแบบยุโรป (เดิมอยู่ริมคลองโอ่งอ่างฝั่งตะวันออก)
2.กองทหารมหาดไทย (ซึ่งถูกเกณฑ์มาจากหัวเมืองฝ่ายเหนือ)
3.กองทหารกลาโหม (ซึ่งถูกเกณฑ์มาจากหัวเมืองฝ่ายใต้)
4.กองทหารเกณฑ์หัด (คือพวกขุนหมื่นสิบยก กองทหารเกณฑ์หัดนี้ ขึ้นกับกองทหารหน้า)
จะเห็นได้ว่า การจัดการทหารบกแบบตะวันตกหรือกองทัพบกปัจจุบันนี้เริ่มขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว แต่เป็นไปในวงแคบ อำนาจในการปกครองบังคับบัญชาทหารในกรุงเทพฯ แยกออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ทหารที่สังกัดพระบรมมหาราชวังขึ้นโดยตรงต่อพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ส่วนทหารที่สังกัดพระบวรราชวัง หรือวังหน้า ขึ้นโดยตรงต่อ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ส่วนทหารในหัวเมืองก็แยกขึ้นกับ สมุหพระกลาโหม และสมุหนายก
เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ พระองค์มิได้แถลงพระบรมราโชบายในการจัดการทางทหารไว้เป็นที่เด่นชัด อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาถึงสภาวการณ์ และสิ่งแวดล้อมอื่นๆ รวมทั้งวิธีการทางทหาร ตลอดจนพระปรีชาญาณในการบริหารประเทศแล้วอาจพิจารณาได้ว่า พระองค์น่าจะมีพระราชประสงค์ในการจัดการทางทหารเป็น 2 ประการ คือ
1.การปฏิรูปการทหารเพื่อความมั่นคงแห่งราชบัลลังก์
2.การปฏิรูปการทหารเพื่อความเจริญทางด้านการทหารเอง และให้เหมาะสมกับกาลสมัย ตลอดจนสามารถรักษาความปลอดภัยให้แก่ประเทศชาติ

เนื่องจาการทหารในสมัยนั้นยังเป็นไปในลักษณะกระจัดกระจาย อยู่ในสังกัดอำนาจของบุคคลหลายฝ่าย จึงทำให้การปฏิรูปการทหารของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในระยะแรกมีขอบเขตจำกัด ต่อมาใน พ.ศ. 2415 ภายหลังจากการเสด็จไปประพาสสิงคโปร์และปัตตาเวียแล้ว พระองค์โปรดให้ปรับปรุงการทหารให้กาวหน้ายิ่งขึ้น โดยนำแบบอย่างการทหารที่ชาวยุโรปนำมาฝึกทหารในอาณานิคมของตน แต่ได้ดัดแปลงแก้ไขให้เหมาะสมกับสภาพของประเทศไทย โปรดให้แบ่งหน่วยทหารออกเป็น 7 หน่วย ดังนี้
1.กรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์
2.กรมทหารรักษาพระองค์
3.กรมทหารล้อมวัง
4.กรมทหารหน้า
5.กรมทหารปืนใหญ่
6.กรมทหารช้าง
7.กรมทหารฝีพาย

พ.ศ. 2430 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงหารือกับพระบรมวงศานุวงศ์และเสนาบดี ต่างเห็นพ้องต้องกันว่า ควรจัดการทหารอย่างใหม่เป็นระเบียบแบบแผนและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ดังนั้น ในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2430 จึงได้มี "ประกาศจัดการทหาร" ขึ้น โดยตั้ง "กรมยุทธนาธิการ" มีลักษณะเป็นกรมกลางของทหารบก และทหารเรือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงดำรงพระราชอิสริยยศตำแหน่ง "จอมทัพ" สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร ทรงเป็น "ผู้บังคับบัญชาการทั่วไป" และเพื่อให้หน่วยทหารได้รับการบังคับบัญชาดูแลได้ทั่วถึง จึงทรงแต่งตั้งตำแหน่งผู้ช่วยเหลือผู้บังคับบัญชาทั่วไปอีก 4 ตำแหน่ง คือ
1.เจ้าพนักงานใหญ่ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบก
2.เจ้าพนักงานใหญ่ ผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารเรือ
3.เจ้าพนักงานใหญ่ ผู้บัญชาการใช้จ่าย
4.เจ้าพนักงานใหญ่ ผู้บัญชาการยุทธภัณฑ์

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องจากพระองค์ทรงสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบกแซนด์เฮิสต์ ประเทศอังกฤษ ทั้งยังทรงรับราชการในกรมทหารราบเบาเดอรัม และค่ายฝึกทหารปืนใหญ่ นับว่าพระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกที่ได้ทรงศึกษาวิชาทหารบกจากต่างประเทศโดยเฉพาะ เมื่อพระองค์เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ จึงทรงปรับปรุงกิจการทหารบกให้ดียิ่งขึ้น และเจริญก้าวหน้าตามแบบอย่างทหารในทวีปยุโรป พระองค์ทรงให้มีการเปลี่ยนแปลงการบริหารกิจการทหารใหม่ เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2453 โดย
1.เปลี่ยนชื่อกรมยุทธนาธิการ เป็น กระทรวงกลาโหม มีหน้าที่ดูแลการปกครองเฉพาะกิจการทหารบก
2.ยกกรมทหารเรือ ขึ้นเป็น กระทรวงทหารเรือ
3.จัดตั้งสภาป้องกันพระราชอาณาจักร ทำหน้าที่ประสานงานระหว่างกระทรวงกลาโหม และกระทรวงทหารเรือ
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นทหารบกโดยอาชีพ กล่าวคือ ทรงศึกษาวิชาทหารบกจากวิทยาลัยการทหารวูลลิช ประเทศอังกฤษ และวิชาเสนาธิการทหาร จากโรงเรียนเสนาธิการฝรั่งเศส พระองค์ทรงพยายามทุกวิถีทางที่จะทำนุบำรุงกิจการทหารบกให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น แต่ปัญหาภาวะเศรษฐกิจตกต่ำและการขากแคลนงบประมาณแผ่นดิน ทำให้รัฐบาลมีความจำเป็นต้องตัดทอนรายจ่าย และส่งผลกระทบมาถึงกิจการทหารในสมัยของพระองค์ด้วย มีการยุบกรมกองและปลดข้าราชการตำแหน่งต่างๆ ลง ต่อมาในวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ยุบกระทรวงทหารเรือ รวมเข้ากับกระทรวงกลาโหม ให้เสนาบดีกระทรวงกลาโหมมีอำนาจหน้าที่บังคับบัญชาการทหาร 3 ฝ่าย คือ ทหารบก ทหารเรือ และทหารอากาศ ปัญหาและผลสะท้อนจาการตัดทอนรายจ่ายในราชการทหารนี้เองเป็นสาเหตุนำไปสู่ความยุ่งยากทางการเมือง

หลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง บรรดาพระบรมวงศานุวงศ์ และข้าราชการที่เคยดำรงตำแหน่งชั้นสูงในกองทัพบก ถูกถอดถอนออกจากตำแหน่งจนหมด และได้มีการบรรจุบุคคลอื่นเข้าดำรงตำแหน่งแทน โดยมี นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา เป็นผู้บัญชาการทหารบก และ นายพันเอก พระยาทรงสุรเดช เป็นผู้ช่วยผู้บัญชาการทหารบกฝ่ายยุทธการ อย่างไรก็ตามงานในหน้าที่ผู้บังคับบัญชาทหารบกกลับอยู่ในมือของ นายพันเอก พระยาทรงสุรเดช เนื่องจากมีความสามารถและความเชี่ยวชาญทางวิชาการทหารสูง จึงมีบทบาทในการจัดราชการทหารอยู่ระยะหนึ่ง ในเดือนกันยายน ปี 2476 พระยาทรงสุรเดช ได้ก่อความไม่สงบขึ้น โดยมั่นหมายที่จะเปลี่ยนแปลงบุคคลในระดับสูง ทั้งทางด้านการทหารและพลเรือนเสียใหม่ แต่ไม่สำเร็จ
เมื่อเกิดสงครามมหาเอเซียบูรพา จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีและผู้บัญชาการทหารสูงสุดขณะนั้น ได้กำหนดแผนยุทธศาสตร์ทางทหาร ด้วยการนำกำลังกองทัพบกส่วนใหญ่ขึ้นไปอยู่ทางภาคเหนือ แล้วจัดตั้งเป็นกองทัพพายัพขึ้น กับได้วางแผนการย้ายเมืองหลวงจากกรุงเทพฯ ไปอยู่เพชรบูรณ์ ทั้งนี้เพื่อรักษาอธิปไตยของไทยให้พ้นจากการยึดครองของญี่ปุ่น และในขณะเดียวกัน ก็พยายามรักษากำลังทัพของไทยมิให้กองทัพญี่ปุ่นปลดอาวุธ แผนการนี้เป็นแผนที่จะใช้พื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นป้อมปราการต่อสู้ตายกับศัตรู เมื่อภัยสงครามได้ทวีความรุนแรงขึ้นใน พ.ศ. 2486 กองบัญชาการกองทัพบกสนามได้อพยพส่วนหนึ่งจากกรุงเทพฯ ไปตั้งที่ ตำบลวังรุ อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ์ ตามแผนการย้ายเมืองหลวงดังกล่าว
กองบัญชาการกองทัพบก นอกจากจะมีที่ตั้งอยู่ภายในกระทรวงกลาโหมแล้ว ยังมีกองบัญชาการอีกส่วนหนึ่งอยู่ที่หอประชุมกองทัพบก และบริเวณสวนรื่นฤดี เขตดุสิต กล่าวคือ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2500 รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินและแต่งตั้งให้ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้บัญชาการฝ่ายทหาร มีอำนาจเต็มที่ในการสั่งการแก่ทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ และตำรวจ โดยใช้หอประชุมกองทัพบก เป็นกองบัญชาการฝ่ายทหาร ต่อมาในเดือนกันยายน เมื่อคณะทหารภายใต้การนำของ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้พร้อมใจกันยึดอำนาจจากรัฐบาล (จอมพล ป.พิบูลสงคราม) ได้ใช้หอประชุมกองทัพ เป็นกองบัญชาการผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร แต่ได้ปิดลงในระยะเวลาอันสั้น แล้วตั้งเป็น กองบัญชาการกองทัพบก ส่วนที่ 2 ขึ้นแทน ต่อมาใน พ.ศ. 2503 ได้ใช้หอประชุมกองทัพบก เป็นกองบัญชาการกองทัพบก ส่วนที่ 2 อีกครั้ง เมื่อสถานการณ์ตามแนวพรหมแดนมีปัญหาขัดแย้งบางประการ อันจะมีผลกระทบต่อประเทศไทย และใน พ.ศ. 2506 จอมพล ประภาส จารุเสถียร รองผู้บัญชาการทหารบกขณะนั้น ให้เปลี่ยนชื่อกองบัญชาการกองทัพบกส่วนที่ 2 เป็นศูนย์ปฏิบัติการกองทัพบกและใช้เรียกชื่อนี้เรื่อยมาจนปัจจุบัน แม้ว่าศูนย์ปฏิบัติการกองทัพบกจะย้ายมาตั้งอยู่ภายในกองบัญชาการกองทัพบก ถนนราชดำเนินนอก เขตพระนคร ก็ตาม
ศูนย์ปฏิบัติการกองทัพบก ปัจจุบันเป็นหน่วยเฉพาะกิจ ประกอบด้วย สำนักงานผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอำนวยการต่างๆ มีภารกิจในการวางแผน อำนวยการ ประสานการปฏิบัติ และกำกับดูแลหน่วยรองของกองทัพบก และกำลังรบเฉพาะกิจในการปฏิบัติเพื่อรักษาความมั่นคงของชาติ และความมั่นคงของรัฐในทุกรูปแบบ

สมัยปัจจุบัน
พลเอก อาทิตย์ กำลังเอก ขณะดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบก พิจารณาเห็นว่า กองทัพบกเป็นสถาบันหลักสถานบันหนึ่งของประเทศ มีภารกิจในการรักษาความมั่นคงและอธิปไตยของชาติ ตลอดจนเทิดทูนและรักษาไว้ซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ แต่ยังไม่มีกองบัญชาการเป็นสัดส่วนของตนเองเช่นเหล่าทัพอื่น ทั้งยังได้อาศัยอาคารและสถานที่ของกระทรวงกลาโหมมาโดยตลอดทุกยุคทุกสมัย สถานที่ดังกล่าวนอกจากจะคับแคบ ไม่เป็นเอกเทศกับตนเองแล้ว ยังไม่สมเกียรติและศักดิ์ศรีของกองทัพบกอีกด้วย ดังนั้น ผู้บัญชาการทหารบกจึงได้สั่งการให้พิจารณาหาสถานที่ก่อสร้าง "กองบัญชาการกองทัพบก" แห่งใหม่ ในระยะแรกได้พิจารณาเห็นว่า สถานที่บริเวณกรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์ บางเขน มีพื้นที่เพียงพอ การคมนาคมสะดวก แต่เรื่องนี้ไม่สามารถดำเนินการต่อไปได้ เนื่องจากติดขัดทางด้านงบประมาณ
ครั้นเมื่อโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ย้ายไปอยู่ ณ เขาชะโงก อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก กองทัพบกพิจารณาเห็นว่า โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าเดิม ซึ่งตั้งอยู่บนถนนราชดำเนินนอกกรุงเทพมหานคร เป็นสถานที่ที่มีความสง่างาม มีประวัติความเป็นมาอันยาวนานควบคู่กับกองทัพบก นอกจากนั้น ยังมีพื้นที่กว้างขวาง การคมนาคมสะดวก เนื่องจากตั้งอยู่ใจกลางเมืองกรุงเทพมหานคร และเป็นเส้นทางผ่านของแขกบ้านแขกเมือง หากกองทัพบกใช้สถานที่ดังกล่าวเป็นกองบัญชาการกองทัพบก นอกจากจะมีความเหมาะสมอย่างยิ่งดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังเป็นการประหยัดงบประมาณของกองทัพบกและประเทศชาติได้อีกเป็นจำนวนมาก ผู้บัญชาการทหารบก จึงได้สั่งการให้ใช้สถานที่แห่งนี้เป็น กองบัญชาการกองทัพบก และได้กระทำพิธีเปิดที่ทำการของกองบัญชาการกองทัพบกครั้งแรกเมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2529 สำหรับการกำหนดสถานที่ของหน่วยงานต่างๆ ภายในกองบัญชาการกองทัพบกในครั้งนั้น ได้กำหนดให้อาคารซึ่งเคยเป็นที่ตั้งของส่วนราชการโรงเรียนนายร้อยฯ เดิม (ตรงข้ามสนามมวยราชดำเนิน) เป็นที่ตั้งของกรมฝ่ายเสนาธิการ ส่วนอาคารซึ่งเป็นที่ตั้งของส่วนการศึกษาเดิม (ตรงข้ามกระทรวงศึกษาธิการ) เป็นที่ตั้งของสำนักงานปลัดบัญชีกองทัพบก สำนักงานตรวจบัญชีกองทัพบก และกรมการเงินทหารบก
ต่อมาสำนักนายกรัฐมนตรี ได้ขอใช้ที่ดินบริเวณส่วนการศึกษา โรงเรียนนายร้อยฯ เดิม เพื่อขยายสถานที่ทำงานของทำเนียบรัฐบาล ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้ลงมติเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2530 อนุมัติหลักการให้สำนักนายกรัฐมนตรีใช้ที่ดินและอาคารสถานที่บริเวณส่วนการศึกษา โรงเรียนนายร้อยฯ เดิม และอนุมัติให้สำนักงบประมาณจัดสรรงบประมาณให้กองทัพบกในการก่อสร้างอาคาร "กองบัญชาการกองทัพบก" แห่งใหม่ บริเวณส่วนบัญชาการโรงเรียนนายร้อยฯ เดิม คณะกรรมการโครงการก่อสร้างกองบัญชาการกองทัพบก จึงได้พิจารณาออกแบบอาคารขนาดใหญ่ที่ทันสมัย เพื่อเป็นศูนย์รวมในการปฏิบัติงานของผู้บังคับบัญชาชั้นสูง และฝ่ายเสนาธิการต่างๆ ของกองทัพบก ให้สามารถปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ พิธีวางศิลาฤกษ์กองบัญชาการกองทัพบกแห่งใหม่นี้ได้กำหนดขึ้นเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2531 ระหว่างเวลา 08.49 - 09.29 นาฬิกา โดยมี พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ผู้บัญชาการทหารบก รักษาราชการผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นประธานในพิธี
สำหรับหน่วยที่ใช้สถานที่ภายในอาคาร "กองบัญชาการกองทัพบก" ปัจจุบันประกอบด้วย
อาคารส่วนที่ 1
- สำนักงานผู้บังคับบัญชาชั้นสูง
- กรมยุทธการทหารบก
- กรมข่าวทหารบก
- กรมกำลังพลทหารบก
- กรมส่งกำลังบำรุงทหารบก
- กรมกิจการพลเรือนทหารบก
- นย์ปฏิบัติการกองทัพบก
อาคารส่วนที่ 2 และส่วนที่ 3
- ประชาสัมพันธ์ หน่วยตรวจโรค ร้านสวัสดิการ ห้องจัดเลี้ยง ห้องเตรียมอาหาร ห้องอาหารนายทหารชั้น- - สัญญาบัตรและนายทหารชั้นประทวน ห้องประชุมหน่วยขึ้นตรงกองทัพบก หน่วยสื่อสารห้องสมุด
- สำนักงานที่ปรึกษา ทบ.
- ศูนย์เทคโนโลยีทางทหารกองทัพบก
- กรมสารบรรณทหารบก
อาคารส่วนที่ 4
- สำนักงานเลขานุการกองทัพบก
- กรมการเงินทหารบก
- ธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) สาขาย่อย บก.ทบ.
อาคารส่วนที่ 5
- อาคารจอดรถสูง 9 ชั้น

ภารกิจ
พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ. 2503 มาตรา 14 กำหนดอำนาจและหน้าที่กระทรวงกลาโหมและหน้าที่ของกองทัพบกไว้ว่า "กองทัพบกมีหน้าที่เตรียมกำลังทางบก และป้องกันราชอาณาจักร มีผู้บัญชาการทหารบกเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ"



     จาก : กองทัพบกไทย - วิกิพีเดีย